ผลของไคโตซานต่อผลผลิตข้าวเจ้าหอมนิล 2 ฤดูกาล

ไคโตซานต่อผลผลิตข้าวเจ้าหอมนิล ผลของไคโตซานต่อผลผลิตข้าวเจ้าหอมนิล 2 ฤดูกาล Effect of chitosan on yield in Hom-nin rice two seasons การประยุกต์ใช้ไคโตซานต่อผลผลิตข้าวเจ้าหอมนิล...

งานวิจัยไคโตซาน กับข้าว พืชเศรษฐกิจหลักของชาวไทย

ข้าว พืชเศรษฐกิจหลักของชาวไทย เมล็ดข้าว เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญมากของประเทศไทย ต้องการวัคซีสามารถส่งออกได้เป็นอันดับ 1 ของโลก ในปี 2557 ประเทศไทยส่งออกข้าวเป็นปริมาณ 10.97 ล้านตัน รวมมูลค่า 174,853 ล้านบาท (กรมการค้าต่างประเทศ,...

สาเหตุโรคผลเน่าทุเรียน ที่ดื้อต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราหลายชนิดโดยไคโตซานบางชนิด

สาเหตุโรคผลเน่าทุกเรียน ควบคุมเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคผลเน่าทุเรียน ที่ดื้อต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราหลายชนิดโดยไคโตซานบางชนิด การวิจัย เก็บรวบรวมเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคทุเรียน สามารถแยกเชื้อบริสุทธิ์ได้จํานวน 79 ไอโซเลท สุ่มจํานวน...

การใช้นาโนเทคโนโลยีทางด้านการเกษตร

เอกสารอ้างอิง Nano-Biopesticides Today and Future Perspectives, 2019, Pages 17-45.

ไคโตซาน และไคโตซานโอลิโกแซคาไรด์ (COS) คืออะไร?

ไคโตซาน และไคโตซานโอลิโกแซคาไรด์ (COS) สามารถลดความเครียดของพืชได้ ความเครียดจากออกซิเดชัน (oxidative stress) หมายถึงความเครียดในพืชที่เกิดจากการสะสมออกซิเจนชนิดไวต่อปฏิกิริยา หรือ ROS โดยที่เซลล์พืชไม่สามารถควบคุมระดับให้ลดลงต่ำและมีภาวะสมดุลได้ จนเซลล์เสียหายจากการออกซิเดชัน (oxidative damage) หากต้องการยับยั้งความเสียหายดังกล่าว...

ไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ (COS) คืออะไร?

ไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ (COS) นวัตกรรมวัคซีนพืช ไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์ หรือ ไคโตซานโอลิโกเมอร์ นวัตกรรมวัคซีนพืชเน้นที่การป้องกันมากกว่าการรักษาซึ่งเป็นหัวใจหลักของการนำนวัตกรรมวัคซีนพืชไปใช้อย่างสม่ำเสมอเพื่อกระตุ้นให้พืชสร้างระบบภูมิคุ้มกันตัวเองต่อสภาวะที่ทำให้พืชเกิดความเครียดหรือเมื่อเจอศัตรูพืช  โดยทั่วไปพืชมีการป้องกันตัวเองพืชตามธรรมชาติอยู่แล้ว การที่พืชจะสร้างภูมิคุ้มกันได้ต้องมีระดับความเสียหายค่อนข้างมากแล้ว เพราะต้องรอให้มีการสร้างกรดซาลิไซลิค (SA) ในปริมาณมากพอที่จะกระตุ้นได้  และภูมิต้านทานที่เกิดขึ้นก็จะเกิดขึ้นเฉพาะพืชต้นนั้นไม่สามารถจะควบคุมหรือป้องกันพืชทั้งแปลงได้  ดังนี้การระบาดก็จะยังเกิดขึ้นตลอดเวลา การให้ไคโตซานโอลิโกแซคคาไรด์...

กรดอะมิโน (Amino acids) คืออะไร? ทำไมจึงสำคัญสำหรับพืช?

กรดอะมิโน (Amino acids) คืออะไร? ทำไมจึงสำคัญสำหรับพืช? กรดอะมิโน คือ สารประกอบอินทรีย์ซึ่งในหนึ่งโมเลกุลมีหมู่ทำหน้าที่ (Functional group) 2 แบบ คือ หมู่อะมิโน (Amino...

สารกระตุ้นเชิงชีวภาพของพืช หรือ “สารเร่งเชิงชีวภาพ (Biostimulants)” คืออะไร?

สารกระตุ้นเชิงชีวภาพของพืช หรือ “สารเร่งเชิงชีวภาพ (Biostimulants)” คืออะไร? สำหรับพืช ซึ่งหมายถึงสารใดๆก็ตาม ยกเว้นสารที่ให้ธาตุอาหาร (nutrients) หรือสารปรับปรุงดิน (soil improvers) หรือสารฆ่าศัตรูพืช (Pesticides) ที่ใส่ให้พืชทางดิน...

ไคโตซานโอลิโกแซคคาร์ไรด์ (Chitosan oligosaccharides; COS) คืออะไร?

ไคโตซานโอลิโกแซคคาร์ไรด์ (Chitosan oligosaccharides; COS) คืออะไร? ไคโตซานโอลิโกแซคคาร์ไรด์ หรือ ไคโตซานโอลิโกเมอร์ หรือเรียกสั้น ๆ ว่า คอส (COS) คือไคโตซานสายสั้นๆที่เกิดจากการย่อยหรือตัดสายโซ่ไคโตซานสายยาวด้วยกระบวนการต่างๆ เช่น...

ไคโตซาน (Chitosan) คืออะไร?

ไคโตซาน (chitosan) คืออะไร? ไคโตซาน คือ สารธรรมชาติจำพวกสารโพลีเซคคาไรด์ (Polysaccharide) สกัดที่ได้จากเปลือกกุ้ง กระดองปู และแกนปลาหมึก เป็นต้น นอกจากนี้ยังสามารถสกัดได้จากเปลือกแข็งของแมลง ผนังเซลล์ของเห็ดและรา และสาหร่ายบางชนิด โดยแยกเอาโปรตีนและเกลือแร่ออกจะได้สารที่เรียกว่าไคติน...

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ กด "MORE INFO" เพื่ออ่านเพิ่มเติม หรือกด "ACCEPT" เพื่อยอมรับข้อตกลงในการเก็บข้อมูล