โรคพืชหน้าหนาว เกษตรกรกับภัยฤดูหนาวที่ต้องระวัง

เกษตรกรหลายท่านคิดว่าโรคพืชจะลดลงในช่วงอากาศหนาว ความเป็นจริงแล้ว…ช่วงหน้าหนาวอากาศจะเย็นลง แห้ง และลมแรง จะทำให้มีการระบาดของโรคพืชได้อย่างรวดเร็ว โดยเฉพาะโรคที่เกิดจากเชื้อรา ตัวอย่างเช่น 1.โรคราน้ำค้าง (Downy mildew) เกิดจากการเข้าทำลายของเชื้อรา Pseudoperonospora cubensis พบได้บ่อยในกลุ่มพืชจำพวกแตงต่างๆ เช่น...

หน้าที่ของ ไคโตซาน โอลิโกเมอร์

ไคโตซาน โอลิโกเมอร์ คืออะไร ไคโตซาน โอลิโกเมอร์ (Chitosan Oligomer) เป็นสารชีวภาพที่เกิดจากการตัดสายโซ่ของไคโตซานซึ่งเป็นพอลิเมอร์ธรรมชาติสายยาว ให้เป็นไคโตซานโอลิโกเมอร์ หรือ ไคโตซานโอลิโกแซคคาร์ไรด์ ซึ่งมีสายที่สั้นกว่าไคโตซาน ช่วยให้พืชและสัตว์ดูดซึมได้ดีกว่าไคโตซานทั่วไป ไคโตซานได้จากการสกัดจากไคติน ซึ่งมีอยู่ในเปลือกของสัตว์น้ำที่มีเปลือกแข็ง...

เรามาทำความรู้จักกับสารป้องกันแรงดันออสโมติกในพืช

สารป้องกันแรงดันออสโมติกในพืช คืออะไร? หลายคนคงสงสัยว่ามีสารตัวนี้ด้วยเหรอ? หรือบางคนเพิ่งเคยได้ยินจากเพจ BioCOS เทคโนโลยีการเกษตร วันนี้เรามาทำความรู้จักกับสารป้องกันแรงดันออสโมติก (osmoprotectant) ว่าคืออะไร? มีประโยชน์อย่างไรต่อพืช? เราสามารถใช้สารป้องกันแรงดันออสโมติกในการทำการเกษตรอย่างไร? เรามีคำตอบให้ครับ ปัญหาที่พบเจอ ปัญหาการเกษตรส่วนหนึ่งมาจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปจากสภาวะโลกร้อน อุณหภูมิอากาศที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่องนับว่าเป็นสภาวะเครียดของพืชที่เป็นอันตรายที่สุด...

เมื่อพืชได้รับไคโตซานโอลิโกแซคคาร์ไรด์ (COS) จะเป็นอย่างไร?

การกระตุ้นพืช การกระตุ้นพืช (elicitation) โดยใช้ไคโตซานโอลิโกแซคคาร์ไรด์ COS เป็นวิธีการชักนำ (induce) ให้พืชมีการเปลี่ยนแปลงทางสรีระและกระตุ้นให้ขีดความสามารถในการป้องกันภัยจากภายนอกดีขึ้นหรือมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมได้อย่างเหมาะสม การกระตุ้นพืชด้วยสารอีลิซิเตอร์ (elicitors) กับไม้ผล พืชผักและพืชสมุนไพร ช่วยจุดชนวนให้พืชเหล่านั้นสังเคราะห์สารประกอบอินทรีย์บางชนิดขึ้นมา ผลการวิจัยเกี่ยวกับสารเมแทบอไลต์ (metabolite)...

Chitosan Oligosaccharide (COS) กับยางพารา

COS สามารถนำมาประยุกต์ใช้ในด้านการเกษตร เนื่องจาก COS สามารถออกฤทธิ์เป็นตัวกระตุ้นระบบป้องกันตัวเองของพืช และกระตุ้นให้พืชสร้างภูมิคุ้มกันตนเอง ทำให้พืชผลิตเอนไซม์และสารเคมีเพื่อป้องกันตัวเองหลายชนิด เช่น สร้างสารโมเลกุลขนาดเล็ก พวกฟีนอลิก ไฟโตอเล็กซิน (phytoalexin) และสร้าง pathogenesis related...

การใช้สารสกัดไคโตซาน สำหรับกุหลาบ

การใช้สารสกัดจากไคโตซานในการควบคุมโรคและแมลงศัตรูกุหลาบและผลต่ออายุการปักแจกันหลังการเก็บเกี่ยว Effect of Chitosan to Control Roses ’s Diseases and Roses ’s insects for extend...

ปาล์มน้ำมัน กับการให้ไคโตซาน

การใช้สารไคโตซานในการป้องกันกําจัดโรคลําต้นเน่าของปาล์มน้ำมัน Controlling Basal Stem Rot of Elaeis guineensis by Using Chitosan งานวิจัย งานวิจัยนี้ทําการศึกษาประสิทธิภาพของสารไคโตซานต่อการเจริญของเส้นใยรา Ganoderma sp....

การป้องกันเชื้อราไฟทอปธาร่าในทุเรียน และพืชอื่นๆ

การป้องกันเชื้อราไฟทอปธาร่าในทุเรียนและพืชอื่น ๆ ป้องกันไฟทอป ควบคุมเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคผลเน่าทุเรียน ที่ดื้อต่อสารป้องกันกําจัดเชื้อราหลายชนิดโดยไคโตซานบางชนิด งานวิจัย งานวิจัยนี้เก็บรวบรวมเชื้อรา Phytophthora spp. สาเหตุโรคทุเรียน สามารถแยกเชื้อบริสุทธิ์ได้จํานวน 79...

อ้อย กับการให้ไคโตซาน เพื่อการเจริญเติบโต

การให้ไคโตซานกับอ้อย เพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต การให้ไคโตซานเพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต คุณภาพผลผลิต และปริมาณสารทุติยภูมิในอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 บทความนี้ได้ศึกษาผลของการให้ไคโตซานเพื่อเพิ่มการเจริญเติบโต คุณภาพผลผลิต และปริมาณสารทุติยภูมิในอ้อยปลูกพันธุ์ขอนแก่น 3 วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ภายในบล็อค จำนวน 4 ซ้ำ และ...

งานวิจัยข้าวโพด กับไคโตซานสายสั้น (COS) เรื่องการเจริญเติบโต

งานวิจัยข้าวโพด กับไคโตซานสายสั้น (COS) งานวิจัยไคโตซานสายสั้น (COS) ต่อการเจริญเติบโตของข้าวโพด “Influence of Degradation of Chitosan by Gamma Radiation on...

เราใช้คุกกี้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้งานเว็บไซต์ กด "MORE INFO" เพื่ออ่านเพิ่มเติม หรือกด "ACCEPT" เพื่อยอมรับข้อตกลงในการเก็บข้อมูล